The Omega De Ville series was born around 1960 as part of the larger Seamaster series of watches. It was, at the time, the continuation of the classic dress watch heritage the Seamaster had embodied since 1948, but one that had become less important since the launch of the first dive watch in the series in 1957. It was in 1967 that the De Ville fake collection became independent of the Seamaster line, and began to develop its own individual charm and heritage. These were watches that continued to be dressy, classic, and elegant, but now appealed to a much wider market of consumers through their interesting designs, variety of cases — including squares, rectangles, and ovals — competitive prices, and timelessness of their dials. cheap cartier replicacartier replicaRepliche Orologi Di LussoRepliche Orologi rolexBreitling Replica watchesBreitling Replica ukBreitling Replica watchesCheap Breitling ReplicaBreitling Replicareplica watches chinacheap replica watchescartier replicacartier replica watchescheap Rolex replicaRolex replica watchescheap Rolex replicaRolex replica As you can tell, I like the modern Omega De Ville fake Prestige line. It is a collection far from the limelight that often graces Omega’s flagship collections, and, in my opinion, is one of the last holdouts, in a relatively affordable sense, of a classic watch meant to slip subtly beneath a shirt cuff. Some cheap fake watches are underappreciated, some watches are understated; I feel that this watch happens to be both. Rolex Replica Watchesreplica watches onlinecheap replica watchesomega replicaRolex replicaRolex replicaRolex replica watchescheap replica watchescheap replica watchescheap fake watchescheap fake watchesrolex replica watches
Get Adobe Flash player

อาจารย์อธิปวัฌณ์  อมรปัญญานันท์

รองอธิการบดีฝ่ายศิลปวัฒนธรรม

atipwach.a@rumail.ru.ac.th

Please install plugin JVCounter!
           

  ใน แต่ละถิ่นมักมีทั้งผู้จงใจและไม่จงใจ จำกัดโลกทรรศน์ของตนเพื่อความภูมิใจส่วนตัว ผ่านวลีเด็ดที่ว่า "หนึ่งเดียวในโลก หนึ่งเดียวในเมืองไทย" บางอย่างเป็นจริง เพราะปลัดขิกยาวที่สุดในโลก ข้าวจี่ที่ใหญ่ทีสุดในโลก ควไม่มีชาติใดทำ แต่บางอย่างไม่เป็นจริง เพราะผู้กล่าวอ้างขาดข้อมูลผู้อื่น(ทั้ที่คนเหล่านั้นก็เป็นญาติมิตรของเร่า ด้วยกันทั้งหมดทั้งสิ้น) ในกรณีของงานบุญถวายคัมภีย์ใบลาน บุญข้าวใหม่และบุญผิงไฟพระเจ้ากันหนาว(ตากธรรม ตานข้าวใหม่ หิงไฟพระเจ้า)เป็นประเพณีเก่าแก่ดั้งเดิมที่คนมอญปฏิบัติมาช้านาน และแพร่หลายในหมู่คนพม่าล้านนาไทใหญ่ กะเหรี่ยง และเมืองนครศรีธรรมราชในอดีต ในทุกวันนี้ก็ยังพบประเพณีดังกล่าวอยู่ทั่วไปในเมืองมอญ(ประเทศพม่า) ล้านนาชุมชนมอญราชบุรี ประเทศไทยดังนั้นจึงเป็นไปไม่ได้ที่ประเพณีโบราณดังกล่าวจะมีเพียงหนึ่ง เดียวในโลก 

เคย มีผู้ศึกษาวัฒนธรรมประเพณีของคนล้านนาและคนมอญหลายท่านกล่าวไว้ว่า วัฒนธรรมประเพณีมอญที่เก่าแก่งดงามหลายประการจางหายไปแต่ยังสามารถพบได้ใน วิถีคนล้านนา เพราะวัฒนธรรมล้านนาส่วนหนึ่งไม่ได้เรียนรู้บ้านเมืองอื่นที่อยู่นอกความรับ รู้ของตน กรณีหนึ่งคือ ข่าวประชาสัมพันธ์งานบุญวัดสูงเม่น เมืองแพร่

"ตาก ธรรม ตานข้าใหม่ หิงไฟพระเจ้า ประเพณีโบราณหนึ่งเดียวในเมืองไทย" ผู้เขียนไม่นิยมคำกล่าวอ้างทำนองนี้เพราะความภาคภูมิใจในสิ่งี่ตนมีนั้นน่า ชื่่นชม แต่ขณะเดียวกันกลับแฝงฝังทัศนคติที่เป็นการกดทับ มีรากเหง้ามาจากมอญสิ่งที่เห็นได้ง่าย เช่น รูปแบบสถาปัตยกรร อักษรธรรมล้านนา พิธีกรรมการนับถือผีประเพณีบวชลูกแก้ว ดนตรี นาฎศิลป์ ตุงผ้า ตุงกระด้าง ที่ไม่เพียงรับเข้าไว้ หากยังปรับปรนเข้ากับชีวิตและสืบสานไว้จวบจนปัจจุบัน 

ใน ที่นี้ผู้เขียนจะขอนำเอาประเพี ๑๒ เดือนทั้งของมอญ(รามัญ)และล้านนา(เชียงใหม่)เทียบเคียงกัน เพื่อให้เห็นให้เห็นความเชื่อมโยงของรากเหง้าทางวัฒนธรรม

 

มอญ 

เดือน 

ล้านนา 

 สงกรานต์ (ปีใหม่มอญ) หุงข้าวแช่บูชา
เทวดา ส่งข้าวแช่ พระ/ญาติผู้ใหญ่ สรงน้ำพระ
รดน้ำอัฐิบรรพชน ค้ำโพธิ์ แห่โหน่ (ธงตะขาบ)
แห่ปลา โรยทราย บุญกลางบ้าน 

 ๕-๗

(ราวเดือนเมษายน) 

สงกรานต์ (ปีใหม่เมือง)-สรงน้ำพระ
รดน้ำดำหัวพ่ออุ๊ย แม่อุ๊ย สือชาตา
ขนทรายเข้าวัด แห่ไม้ก้ำสะหลี (ค้ำโพธิ์) 

 รำผีมอญ-เซ่นไหว้ผีบรรพชน พิธีแรกนา-ไถ
ปัก ดำ ตามประเพณี บรรพชา อุปสมบท
บุตรหลาน 

 ๖-๙

(ราวพฤษาภาคม) 

 เตียวขึ้นดอย-เดินทางจาริกแสวงบุญ
สรงน้ำพระธาตุดอยสุเทพ ไหว้สาปาระมีพระบรมธาตุ
ดอยสุเทพ 

 ถวายทานผ้าอาบน้ำฝนแด่พระสงฆ์-เข้า
วัดทำยุญตักบาตร 

 ๗-๙

ราวกรกฏาคม 

เลี้ยงผีปู่ย่า เลี้ยงผีขุนน้ำ (ผีแห่งต้นน้ำลำธาร)
ฟ้อนผีเม็ง (ผีบรรพชน) จิบอกไฟ
(จุดบอกไฟเป็นพุทธบูชา) เข้าอินทขีล (ใส่ขัดดอก
บูชาเสาอนทขีล-เสาหลักเมือง) 

 หล่อเทียนเจำนำพรรษา-ถวายเทียนจำนำ
พรรษา และพานพุ่มแด่พระภิกษุสงฆ์ ทำบุญ
ตักบาตรพระสงฆ์ 

 ๘-๑๐

(ราวกรกฎาคม) 

 เข้าพรรษา (พระสงฆ์พรรษา ศรัทธาเข้าวัดรักษาศีล)
แรกนา-ไถนาครั้งแรกเป็นสิริมงคลเริ่มต้น
ฤดูกาลเพาะปลูก

 ฤดูกาลทำนา-ลงแขกหว่านข้าวกล้า ปักดำ

 ๙-๑๑

(ราวสิงหาคม) 

 เอามื้อปลูกนา-สู่ขวัญความ ฟังเทศน์ฟัง
ธรรมตามจารีตล้านา 

 ตำข้าวเหนียว ทำขนมตักบาตร
ตักบาตรน้ำผึ้ง 

 ๑๐-๑๒

(ราวกันยายน) 

 ตานก๋วยสลาก จาคะข้าว บริจาคทานแด่
ผู้กักษาศีล วัน 12 เป็งทานหาคนตาย 

  กวนขนมกระยาสารท ตักบาตรเทโว ทุคตะทาน
(คนยากจนได้ทำบุญทัดเทียมกันคนมีโดยพระสงค์
จะไปรับประทานถึงบ้าน)

 ๑๑-เดือนเกี๋ยง

(ราวตุลาคม)

  ออกพรรษา-พระสงฆ์ปวารณา ใส่บาตรเทโว
ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า ทารทอด (ทิ้งทานแก่
พระสงฆ์และคนยากคนจน

  ตั้งศาลพระแม่โพสพที่ทุ่งนา เซ่นไหว้ประจำปี
ลอยเรือ (ลอยกระทง)บูชาพระอุปคุต

๑๒-เดือนยี่

(ราวพฤศจิกายน)

  เดือนยี่เป็ง-เล่นบอกไฟ ล่องสะเปา (ลอยกระทง)
ปล่อยโคมบูชาพระเกศแก้วจุฬามณี ตั้งธรรมหลวง
 ตำข้าวเม้าใหม่-ถวายพระสงฆ์ที่วัดและเซ่นไหว้
ผีบ้านผีเรือน

๑-๓ 

(ราวธันวาคม)

 เกี่ยวข้าวเอาเฟือง-ลงแขกเกี่ยวข้าว สู่ขวัญข้าว
ขอขมาพระแม่โพสพ ทุเจ้าเข้ากัมม์(พระสงฆ์บำเพ็ญ
เคร่งครัช
 ฤดูกาลเก็บเกี่ยวข้าวและนวดข้าว

๒-๔

(ราวมกราคม)

  ปอยลูกแก้ว หรือปอยน้อย (บรรพชาสามเณร)
  สิ้ินสุดฤดูการทำนา-ชายเข้าป่าตัดไม้
ล่องแพ จักสาน หญิงเข้าหูก ทอผ้านุ่งผ้าห่ม

 ๔-๖

(รามมีนาคม)

 ปอยหลวง-เฉลิมฉลองเสนาสนะสงฆ์
ปอยข้าวสังข์-อุทิศกุศลแด่ญาติตายโหง
ปอยล้อ-งานประชุมเพลิงพระภิกษุสงฆ์